
(1.1) สาเหตุ : การวิบัติที่ผิดความลาดเกิดจาก
- ผิววัสดุเกิดการพังทลาย
- วัสดุเองเนื่องจากSlope มากเกินไป
- มักเป็นพวก Granular Soil

(1.2) การแก้ไข
- ลดความลาดให้น้อยลง
(2) การวิบัติปลายฐานล่าง (Toe Face) คือการพังทลายตรงส่วนที่ปลายฐานด้านล่างของความ
ลาดตลิ่ง

(2.1) สาเหตุ : การวิบัติปลายฐานล่างเกิดจาก
- ดินผิวบนเป็นดินอ่อนและส่วนล่างแข็ง
- เกิดกับพวกดินเหนียว (Cohesive Soil)
- เป็นดินที่มีค่ากําลังรับแรงเฉือน (Shear Stergth) ตํ่า

(2.2) การแก้ไข
- ลด Surcharge load ที่ผิวบนออก
- ทําเป็นขั้นบันได
- เปลี่ยนวัสดุดินถมใหม่เป็นพวกทรายเพื่อต้องการให้นํ้าระบายได้สะดวก
(3) การวิบัติที่ฐานชั้นดินล่างของความลาด(Base Failure) คือการพังทลายที่ ดินใต้ความลาด
ของตลิ่ง

(3.1) สาเหตุ : การวิบัติที่ฐานชั้นดินล่างของความลาดเกิดจากดินชั้นบนมีความแข็งกว่าดิน
ด้านล่างซึ่งเป็นดินที่อ่อนกว่าแล้วเกิดการพังทลายเนื่องจากค่ากําลังรับแรงเฉือนตํ่า

(3.2) การแก้ไข
- เพิ่มค่ากําลังรับแรงเฉือน (Shear Stroagth) ในดินเช่นโดยการตอกเสาเข็มมารับ
แรงเฉือน

- ลด Suchange Load หมายถึงลดดินถมบนตลิ่งออกเพื่อให้เกิดแรงกดน้อยลง

ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น